วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

การติดตั้ง Joomla

การติดตั้ง Joomla
1.ทำการโหลดไฟล์ Joomla โดยพิมพ์  
wget http://joomlacode.org/gf/download/frsrelease/17410/76021/Joomla_2.5.7-Stable-Full_Package.tar.gzในหน้าจอ Terminal แล้วกดปุ่ม Enter

2.ทำการแตกไฟล์ไฟยัง /var/www/html โดย sudo tar zxvf Joomla_2.5.7-Stable-Full_Package.tar.gz  -C /var/www/html

3.ตั้งค่าสิทธิ์ในการใช้งาน โดยใช้คำสั่ง sudo touch /var/www/html/configuration.php และ 
sudo chmod 777 /var/www/html/configuration.php

4.สร้างฐานข้อมูลโดยใช้คำสั่ง mysql -u root -p

 5.สร้างฐานข้อมูล

6.สร้างUser

7.สร้างPassword


8.Restart ฐานข้อมูล

9.ออกจากฐานข้อมูล

10.Restart Server
11.ทำการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลตาม path fileที่ติดตั้ง joomla ผ่านทาง Browser และเลือกภาษาในการติดตั้ง

12.กดปุ่ม Next

12.กดปุ่ม Next

.3
13.กรอกข้อมูลให้ครบตามที่โปรแกรมต้องการ

14.กดปุ่ม Next

15.กรอกข้อมุลสำหรับการเข้าใช้ Joomla

16.โปรแกรมจะแจ้งเตือนให้ลบโฟลเดอร์ installation หลังจากทำการติดตั้งเสร็จ ให้เข้าไปลบตาม path file  ที่ติดตั้งไว้

17.การเข้าใช้งานให้กรอก 127.0.0.1/administrator ในช่อง url ของ Browser



การสร้างโปรเจค Hello World ด้วย Eclipse

การสร้างโปรเจค Hello World ด้วย Eclipse
1.เปิดโปรแกรม Eclipse โดย Application > Programming > eclipse

2.โปรแกรมจะถูกรันขึ้นมาดังภาพ

3.ทำการเลือกที่เก็บไฟล์แล้วกด OK

4.กรสร้างโปรเจคโดยการคลิ๊กขวา ที่ Project Explorer > New > Project

5.ทำการเลือก Java Project แล้วกด Next

6.ทำการตั้งชื่อ Project แล้ว กดปุ่ม Finish

 7.กดปุ่ม OK
8.การสร้างคลาส คลิกขวา New > Class

9.ทำการตั้งชื่อคลาส แล้วกด Finish

10.โปรแกรมจะแสดงหน้าจอการทำงานโดยทดสอบพิมพ์ คำสั่ง System.out.println("Hello World"); แล้วกดปุ่ม Run

11.โปรแกรมจะแสดงผลลัพธ์ดังรูป

การติดตั้งโปรแกรม Eclipse

การติดตั้งโปรแกรม Eclipse
1.ทำการเปิดหน้าต่าง Terminal เพื่อทำการติดตั้งโปรแกรม

2.พิมพ์คำสั่ง yum install eclipse เพื่อทำการดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งโปรแกรม Eclipse

3.โปรแกรมจะแจ้งเตือนขนาดไฟล์ของโปรแกรมให้ทำการดาวน์โหลด กดปุ่ม Y บนแป้นพิมพ์ แล้วกด Enter เพื่อทำการดาวน์โหลดไฟล์

4.รอจนกว่าจะทำการดาวน์โหลด เสร็จสิ้น

5.เมื่อปรากฏหน้าจอดังรูปให้ทำการกดปุ่ม y แล้วกด Enter 


6.เมื่อทำการติดตั้งเสร็จโปรแกรมจะแสดงข้อความ Complete

การติดตั้ง Web Server โดยใช้ Apache

การติดตั้ง Web Server โดยใช้ Apache



1.ทำการเปิดหน้าต่าง terminal พิมพ์คำสั่ง yum install httpd เพื่อทำการติดตั้ง Web server


2.โปรแกรมจะแต้งเตือนให้ทำการดาวน์โหลด ไฟล์ ให้ทำการกดปุ่ม Y บนแป้นพิมพ์แล้วกด Enter 


3.เมื่อทำการติดตั้งสำเร็จโปรแกรม Terminal จะแสดงข้อความ Complete ถือว่าการติดตั้งเสร็จเรียบร้อย


4.ทำการเริ่มการทำงานของโปรแกรม Web server โดยใช้คำสั่ง Service  httpd start


5.ทดสอบการทำงานของ Web server ว่าทำงานได้ถูกต้องหรือไม่โดยการเข้าโปรแกรม Web Browser แล้ว กรอก URL 127.0.0.1 ถ้า Web server มีการทำงานอยู่ จะปรากฏหน้าจอดังรูป

วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556

การติดตั้ง MySQL

การติดตั้ง MySQL
1.ทำการเปิดหน้าจอ Terminal ใช้คำสั่งในการติดตั้งโปรแกรม yum install mysql mysql-server แล้วกดปุ่ม Enter บนแป้นพิมพ์

2.โปรแกรมจะแจ้งเตือนให้ทำการดาวน์โหลดไฟล์ของโปรแกรมที่ต้องการติดตั้ง ทำการกดปุ่ม Y บนแป้นพิมพ์ แล้ว กดปุ่ม Enter เพื่อ ทำการยอมรับการดาวน์โหลด

3.เมื่อทำการดาวน์โหลดเป็นที่เรียบร้อยหน้าจอ Terminal จะแสดงข้อความว่า Complete

4.ทำการเริ่มการทำงานของโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง Service mysqld start

5.ใช้คำสั่ง /usr/bin/mysql_secure_installation สำหรับการตั้งค่า User ในฐานข้อมูลเพื่อตั้งค่ารหัสผ่านให้กับผู้ใช้ Root 

6.โปรแกรมจะแจ้งเตือนให้กำหนดรหัสผ่านให้กดปุ่ม Enterเพื่อข้ามขั้นตอนนี้ไปกรอกรหัสผ่านของ User Root

7.โปรแกรมจะแจ้งเตือนถามว่าต้องการกำหนดรหัสผ่านสำหรับ Root หรือไม่ ให้กดปุ่ม Y บนแป้นพิมพ์และกดปุ่ม Enter แล้วทำการป้อนรหัสผ่านลงไป จากนั้นกดปุ่ม Enter

8.โปรแกรมจะแสดงข้อความ Success!

9. โปรแกรมจะแจ้งเตือนต้องการทำการยกเลิกรหัสผ่านสำหรับ User อื่นๆ หรือไม่ให้ทำการกดปุ่ม Y แล้วกด Enter เพื่อยืนยันการยกเลิก

10.โปรแกรมจะแสดงข้อความ Disallow root login remotely? ให้กดปุ่ม Y บนแป้นพิมพ์ แล้วกดปุ่ม Enter

11.ทำการกกดปุ่ม Y เพื่อ Remove test database and access to it? แล้วกดปุ่ม Enter

12.กดปุ่ม Y แล้วกด Enter เพื่อทำการ Reload privilege tables 

13.เมื่อเสร็จสิ้นการตั้งค่าโปรแกรมจะแสดงข้อความ Thank for Using MySQL ถือเป็นการสิ้นสุดขั้นตอนการติดตั้ง